แผนการจัดการเงินเป็นชุดของกฎและเทคนิคเฉพาะที่ใช้งานเพื่อลดความเสี่ยงและเพิ่มพูลผลกำไร
ความเสี่ยงเป็นจำนวนสินทรัพย์ขั้นสูงที่อาจหายไปจนกว่าจะมีการตัดสินใจเกี่ยวกับการปิดสถานะที่ไม่ได้ทำผลกำไรที่เกิดขึ้น ดังนั้นความเสี่ยงคือส่วนต่างระหว่างราคาเปิดของสถานะและราคาของคำสั่งการหยุดก่อนการขาดทุน หรือการย้อนตัวของสถานะหลายครั้งจากปริมาณการเทรด
หลักการทั่วไปของแผนการบริหารเงิน:
1.จำนวนของเงินทุนที่ลงทุนไปทั้งหมดอาจไม่เกิดไปกว่า 50% ของทุนทั้งหมด หลักการนี้ชี้ให้เห็นถึงกฎเกี่ยวกับการคำนวณมาร์จิ้นเพื่อการเปิดสถานะ โดยจำนวนเงินสำรองที่สามารถใช้งานได้ในสถานการณ์พิเศษและใช้งานสำหรับการดำเนินการตามปกติต้องไม่น้อยไปกว่าครึ้งหนึ่งของทุนทั้งหมด
50% ของค่าตามที่แนะนำโดย Murphy อย่างไรก็ตามนักวิเคราะห์หลายคนเชื่อว่าทุนที่ใช้ลงทุนต้องมีตั้งแต่ 5% จนถึง 30%
2.จำนวนสินทรัพย์ที่ลงทุนทั้งหมดในตลาดเดี่ยวจะไม่สามารถมากไปกว่า 10% - 15% ของทุนทั้งหมด ในกรณีนี้เองเทรดเดอร์จะปลอดภัยต่อเงินทุนส่วนเกินที่ใช้ในการลงทุนภายในการเทรดเพียงครั้งเดียวซึ่งอาจทำให้เกิดการขาดทุน
3.อัตราความเสี่ยงของแต่ละตลาดต้องไม่มากไปกว่า 5% ของทุนทั้งหมดที่เทรดเดอร์ลงทุนไป ด้วยการนี้เองหากสัญญาออกมาไม่สามารถทำกำไรได้ เทรดเดอร์พร้อมที่จะเสียไปไม่มากไปกว่า 5% ของจำนวนการลงทุนทั้งหมด โดย 5% เป็นอัตราที่ Murphy ได้แนะนำไว้ อย่างไรก็ตาม ผู้เชี่ยวชาญได้ให้ระดับเป็น 1.5% - 2%
4. จำนวนของค่าธรรมเนียมที่รับประกันทั้งหมดที่ฝากเข้าเมื่อทำการเปิดสถานะในตลาดกลุ่มหนึ่งต้องไม่มากไปกว่า 20% - 25% ของทุนทั้งหมด ตลาดของกลุ่มเดียวกันมีไดนามิกมากหรือน้อยกว่ากัน เมื่อการเทรดในตลาดฟอเร็กซ์ นักลงทุนกำหนดตลาดหลักทั้งสี่ที่การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนสกุลเงินมีความคล้ายตลึงกัน โดยถือเป็นพื้นที่เงินดอลลาร์, พื่นที่เงินปอนด์, พื้นที่เงินเยนและพื้นที่เงินยูโร
5.การกำหนดระดับการกระจายความเสี่ยงพอร์ตโฟลิโอ
การกระจายความเสี่ยงเป็นหนึ่งในวิธีที่รักษาทุน อย่างไรก็ตามการกระจายนั้นอาจต้องมีระยะจำกัด ต้องมีจุดสมดุลที่เหมาะสมระหว่างการกระจายความเสี่ยงและการเพิ่มความเสี่ยง การกระจายที่ใช้การได้มากหรือน้อยของทุนเกิดขึ้นได้ด้วยการเปิดสถานะในเวลาเดิมภายในตลาดทั้งสี่หรือหกส่วนในกลุ่มต่างกัน ยิ่งมีการปรับตัวติดลบระหว่างตลาด ก็จะยิ่งมีการกระจายความเสี่ยงในสินทรัพย์ที่ลงทุนมากขึ้นเท่านั้น
6.การกำหนดระดับตำแหน่งการหยุดก่อนขาดทุน
ระดับการหยุดก่อนขาดทุน อย่างแรกขึ้นอยู่กับว่าเทรดเดอร์พร้อมที่จะเสียการเทรดนั้นไปเท่าไหร่ อย่างที่สองมันขึ้นอยู่กับว่าเทรดเดอร์เข้าถึงสถานการณ์ในตลาดอย่างไร คาดการณ์ว่าเทรดเดอร์มีเงินดอลลาร์ฝากเข้ามาในจำนวน S เมื่อการเปิดสถานะเกิดขึ้น เทรดเดอร์จะสามารถเสียไปได้ L% ของส่วนที่ฝากไป
แทนด้วยมีการเปิดสัญญาถึง 100,000 เพื่อการซื้อ USD ต่อเงิน Swiss franc (CHF) ที่เป็นค่าใช้จ่ายของการเปิด p1 ซื้อ $100,000 ขาย CHF p1 x 100,000 ในส่วนไหนของระดับ p2 ที่เทรดเดอร์ต้องกำหนดคำสั่งการขายเพื่อที่จะได้ไม่เกินไปกว่าคำสั่งของการขาดทุนที่รองรับได้ SхL?
ถ้าคำสั่งคุณในระดับ p2 ได้เปิดใช้งานแล้ว การขาดทุนในสถานะจะกลายเป็น Loss – CHF (p1 – p2) x 100,000 ในทางตรงกันข้ามการสูญเสียต้องไม่เกินไปกว่า USD SxL หรือของเงิน Swiss franc จะเป็น (CHF) SxLxp2 ดังนั้นแล้วพวกเราจะได้ว่า (p1-p2)x100,000 SxLxp2 ดังนั้นจึงกลายเป็นสูตรหาระดับคำสั่ง p2 p1-p1 xSxL (SxL+100,000)
เมื่อกำหรดคำสั่งการหยุดก่อนขาดทุนแล้ว เทรดเดอร์ต้องทำตามองค์ประกอบของปัจจัยทางเทคนิคที่เหมาะสมเพื่อแสดงให้เห็นถึงกราฟราคาและการพิจารณาในการป้องกันเงินทุนตนเอง ความผันผวนในตลาดยิ่งมากขึ้นเท่าไหร่ ก็จะยิ่งมีการกำหนดตำแหน่งการหยุดก่อนขาดทุนจากราคาปัจจุบันมากขึ้น
มันเป็นสิ่งที่เทรดเดอร์สนใจในการกำหนดตำแหน่งการหยุดก่อนขาดทุน ขณะเดียวกันคำแหน่งการหยุดก่อนขาดทุนที่ “แคบ” อาจทำให้พบกับการปิดสถานะที่ไม่ต้องการหากมีความผันผัวนของราคาระยะสั้น (ส่วนต่าง) คำสั่งการหยุดก่อนขาดทุนวางไว้ห่างเกินไปก็จะไม่มีปฏิกริยาต่อ “ส่วนต่าง” แต่อาจส่งผลให้เกิดการขาดทุนอย่างมาก
7.การกำหนดอัตราส่วนระหว่างผลกำไรและการขาดทุนที่อาจพบ
แต่ละดีล อัตราผลตอบแทนเป็นที่กำหนดได้ มันต้องมีสร้างความสมกุลให้ได้ต่อการขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นเมื่อตลาดเคลื่อนตัวไปในทิศทางที่ยังไม่ต้องการ ตามปกติแล้วอัตราส่วนนี้จะอยู่ใน 3 ต่อ 1 ในทางตรงกันข้ามคุณต้องไม่เข้าสู่ตลาด ตัวอย่างเช่นหากเทรดเดอร์คาดว่ามาร์จิ้นจะเป็น $100 จากนั้นการทำผลกำไรอาจเป็น $300
เนื่องจากจำนวนการเทรดที่ไม่มากในช่วงปีนี้อาจส่งผลให้เกิดผลกำไรอน่างมาก คุณต้องพยายามเพิ่มผลกำไรเหล่านี้ขณะที่รักษาสถานะการทำผลกำไรให้ได้นานเท่าที่ทำได้ ในทางตรงกันข้ามมันจำเป็นต้องลดการสูญเสียจากดีลที่ทำผลกำไรไม่ได้
8.การเทรดในหลายสถานะ
สถานะแนวโน้มจะถูกดำเนินการไปพร้อมกับคำสั่งการหยุดก่อนขาดทุนที่ค่อนข้างกว้าง ซึ่งจะช่วยให้เทรดเดอร์รักษาสถานะให้เปิดไว้กรณีที่มีการรวมกำลังและการปรับฐานของราคา ที่จริงสถานะเหล่านี้ช่วยให้เทรดเดอร์สร้างผลกำไรได้อย่างมาก สถานะการเทรดแสดงถึงการเทรดระยะสั้นและถูกจำกัดด้วยจากคำสั่งการหยุกก่อนขาดทุนที่ค่อนข้างแคบ มันทำผลให้เมื่อราคามุ่งหน้าไปยังเป้าหมายนั้น จึงมีการปิดสถานะเมื่อราคากระตุ้นแนวโน้ม ก็จะรักษาสถานะไว้ได้
9. แนวทางการเทรดแบบดั่งเดิมและเชิงรุก
นักวิเคราะห์ส่วนใหญ่ต้องการแนวทางแบบดั่งเดิมตัวอย่างเช่น Murphy ที่มีมุมมองคล้ายกัน “เทรดเดอร์กำลังรับมือแบบเชิงรุกเมื่อเขาต้องการทำผลกำไรให้ไว ผลกำไรอาจมีความสำคัญแต่เฉพาะในเวลาที่ตลาดกำลังเคลือ่นตัวไปในทิศทางที่เหมาะสม เมื่อสถานการณ์ในตลาดเปลี่ยนไป กลยุทธ์เชิงรุกมักทำให้เกิดความล้มเหลว ”
10. กฎของการเปิดสถานะ:
a)เปิดสถานะอย่างเดียวเมื่อมีสัญญาณหลักสักส่วนและอย่างน้อยสัญญาณเพิ่มเติมอีกส่วน
b)เมื่อมีการเปิดสถานะ กำหนดและจดราคาช่วงเปิด ราคาที่คุณจะปิดจากสถานะที่ทำผลกำไร ราคาส่วนนั้นคุณจะปิดสถานะที่ทำให้เกิดการขาดทุนและเวลาของการปิดสถานะที่คาดการณ์ไว้
11. กฎของการรักษาสถานะและการปิดบางส่วนจนกว่าถึงเวลาที่คาดไว้:
a) สนับสนุนสถานะเฉพาะในกรณีที่บทวิเคราะห์ยืนยันว่ากำหนดข้อสรุปไว้แล้วช่วงแรก;
b)การปิดสถานะบางส่วนเมื่อพบกับการขาดทุนที่มากกว่าระดับที่คาดการณ์ไว้ หากราคาได้มุ่งหน้าไปถึงระดับที่คาดไว้เพื่อการทำผลกำไร;
c) ต้องรอเมื่อพบกับการขาดทุนที่ลงไปต่ำกว่าช่วงที่คาดไว้ หากราคาอยู่ในระดับเดิมหากราคายังไม่ได้มุ่งหน้าไปจนถึงผลกำไรที่ระดับคาดการณ์ไว้
12. กฎของการปิดสถานะ:
คุณต้องปิดสถานะ:
-ช่วงระยะเวลาที่คาดว่าจะมีการหมดอายุ;
- having received the supposed profit;
-หลังจากรับผลกำไรที่คาดว่าจะได้รับ;
-หลังจากมีการขาดทุนที่คาดว่าจะพบ;
-หลังจากทำผลกำไรสูงสุดได้